GPD003
April 25, 1967
25 เมษายน 2510
folder #15
Place: Home of performers in Chiang Rai, Thailand/บ้านของพ่อครูอินทร์หล่อ สรรพศรี อำเภอเมืองเชียงราย
Setting: Informal recording session/การบันทึกเสียงอย่างไม่เป็นทางการ
Performer(s): Kru InLaw Supasri, Kru PloiSee Supasri/ครูอินทร์หล่อ สรรพศรี และแม่ครูพลอยสี สรรพศรี
Medium: Kim (hammered dulcimer), Ching (finger cymbals), Saw Duang (2-stringed fiddle), Voice/ขิม, ฉิ่ง, ซอด้วง, การขับร้อง
Language: Thai & Lanna/ภาษาไทยกลางและภาษาล้านนา
ครูอินทร์หล่อและครูพลอยสีเป็นครูสำคัญทางดนตรีในภาคเหนือของประเทศไทย ครูอินทร์หล่อเคยเป็นผู้สื่อข่าวในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นชื่อ “คนเมือง” และครูพลอยสีเป็นครูโรงเรียนในท้องถิ่น ทั้งสองท่านได้ศึกษาทางดนตรีไทยภาคกลาง แต่ก็มีความสามารถทางด้านดนตรีและวัฒนธรรมล้านนาด้วย โดยสามารถสื่อสารได้ทั้งสองภาษา (ไทยกลางและภาคเหนือ) ทั้งสองท่านมีบุตรและธิดารวม 4 คน (ชาย 3 หญิง 1) โดยได้ศึกษาดนตรีด้วย สมาชิก 6 คนของครอบครัวสรรพศรีบรรเลงวงดนตรีขนาดเล็กซึ่งสามารถได้ยินหรือฟังได้ทั่วเมืองเชียงรายทั้งที่โรงเรียนและกิจกรรมของเทศบาล ครูอินทร์หล่อได้สอนเจอรัลด์ ไดค์ เกี่ยวกับการบรรเลงซอด้วงและเป็นผู้นำสอนในกิจกรรมอบรมดนตรีไทยในโรงเรียนที่เจอรัลด์ ไดค์สอนหลายครั้ง ทั้งสองท่านมีอายุจนถึงทศวรรษ 2520 โดยที่ลูก 3 ใน 4 คนได้สืบทอดดนตรีมาจวบจนปัจจุบัน
Kru In Law and Kru Ploi See were a remarkable couple in the musical world in N. Thailand. He (In Law) was a news reporter for the local paper Kon Muang คนเมือง (“Local Folks”) and she (Ploi See) was a teacher in a local school. They were both trained in classical central Thai music, but were also skilled in Lanna music and culture. They spoke both languages. They had four children (3 boys and a girl) whom they trained in music. The six members of the Supasri family formed a chamber orchestra (recorded and pictured later) which was heard in and around Chiang Rai at school and civic functions. Kru InLaw gave me some Saw Duang lessons and led several Thai music workshops in schools where I taught. The parents lived into the 1990s and three of the four children have carried the musical torch until the present.
ผู้จัดทำข้อมูล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สงกรานต์ สมจันทร์
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่