GPD041 นายวิเชียร เพ็ชรนิล

การบันทึกเสียงครั้งสุดท้ายระหว่างที่นายวิเชียรพักอยู่ที่เชียงใหม่ ซึ่งเป็นช่วงที่เขาพักอยู่ที่บ้านของเจอรัลด์ ไดค์ การต้อนรับวิเชียรของเรา (ไดค์และภรรยา) ทำให้มิชชันนารีชาวอเมริกันบางคนที่สอนในโรงเรียนของเราขุ่นเคือง เพราะ “คุณไม่มีทางรู้ได้เลยว่านักดนตรีที่เดินทางท่องเที่ยวเหล่านี้เป็นคนแบบไหน – เป็นสายลับหรือใครอะไร และมีการขโมยมากมายเมื่อเร็ว ๆ นี้”

ตอนกลางคืนก่อนนอน นายวิเชียรขอให้ผมอ่านหนังสือให้เขาฟังจากจุลสารที่เขาพกติดตัวไปด้วย น่าเศร้าที่เป็นภาษาสันสกฤต ซึ่งไดค์อ่านไม่ออก ในแต่ละคืนเขาจะสวดมนต์ภาวนาโดยบทสวดจากพระสงฆ์ในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นบ้านเกิดของเขา

แคนหนึ่งในสองของนายวิเชียร สายสองเส้นที่ติดอยู่ที่ปุ่มด้านหลังของเครื่องดนตรีจะมีลูกบอลลูกเล็กๆ ที่เรียกว่า “ขี้สูด” ติดอยู่ สิ่งเหล่านี้ใช้เพื่ออุดรูนิ้ว เพื่อสร้างโมดเสียงต่างๆ ผู้เล่นที่มีสายตาดีส่วนใหญ่ไม่ทำเช่นนี้ – พวกเขาดึงขี้สูดเล็กน้อยออกจากเครื่องดนตรีเพื่อสร้างโน้ตโดรน สายติดขี้สูดจะสะดวกกว่าสำหรับผู้เล่นตาบอด

The final recording session during Wichian’s extended stay in Chiang Mai, during which time he stayed at our house. Our hospitality to Wichian offended some of the American missionaries teaching at our school because “you never know what kind of people these itinerant minstrels might be – spies or who knows what. And there has been a lot of thievery about lately.”

At night before sleep Wichian once asked me to read to him from a pamphlet he carried in his pocket. Sadly, it was in Sanskrit, illegible by me. Each night he said his Buddhist mantra taught to him by priests in his home town of Ubon Rachatani.

One of Wichian’s two Kaens. The two strings attached to the back nub of the instrument have little balls of “kisoot” attached. These are used to plug finger holes, creating the done notes for the various modes. Most sighted players do not do this – they pull little bits of kisoot off the instrument itself to form the drone notes. The string trick is more convenient for a blind player.

album-art
Gerald P. Dyck's Collection
00:00

ผู้จัดทำข้อมูล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สงกรานต์ สมจันทร์

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *